กลับไปหน้า เกร็ดน่ารู้

เคล็ดลับในการใช้วิปปิ้งครีมในกระบอกอัดแก็สสำหรับเครื่องดื่ม

วันนี้แอดมินมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับการทำ วิปปิ้งครีมในกระบอกอัดแก็ส มาฝากเพื่อนๆ อ่านจบใช้เป็นแน่นอน ก่อนที่จะเริ่มขั้นตอน แอดมินข้อแนะนำขนาดกระบอกอัดแก็สที่ใช้ก่อนนะครับ โดยส่วนใหญ่ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดจะมี 3  ขนาด ได้แก่ ขนาด 0.25, 0.5 และ 1 ลิตร ขนาดที่คนทั่วไปใช้กันคือขนาด 0.5 ลิตร  

อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทำวิปปิ้งครีมสำหรับ ทอปเครื่องดื่มวันนี้จะมี

1. ไอซ์ฮอท เบเวอเรจ ทอปปิ้ง ครีมสำหรับกระบอกทำวิป คู่ใจร้านน้ำ

2.  แก็สหลอด สามารถหาซื้อได้ที่ร้านจำหน่ายวัตถุดิบเครื่องดื่ม

3. กระบอกอัดแก็ส

วิธีใช้งานสำหรับกระบอกอัดวิปปิ้งครีมขนาด 0.5 ลิตร

1. ใส่ครีม ไอซ์ฮอท เบเวอเรจ ทอปปิ้ง จำนวน 400 กรัม และเตรียมแก็สหลอด 2 ดอก
2. อัดแก็สหลอดแรกลงไปที่กระบอกอัดแก็ส พร้อม ทั้งเขย่า 30 ครั้ง
3. อัดแก็สหลอดที่ 2 ลงไปที่กระบอกอัดแก็ส รอบนี้ เขย่าแค่ 10 ครั้ง
เท่านี้ก็พร้อมใช้งานแล้วครับ แอดมินมีข้อแนะนำในการเก็บกระบอกก่อนการใช้งานครับ แนะนำว่าหลังจากที่เตรียมเรียบร้อยแล้ว หากยังไม่ใช้เลยควรเก็บไว้ในอุณหภูมิ 7-13 องศาเซลเซียส ถ้ายังไม่หมดสามารถเก็บไว้ใช้ต่อได้ไม่เกิน 5 วันครับ ก่อนการใช้ให้เขย่าก่อนเล็กน้อย

หมายเหตุ: แก็ส 2 ดอกมีเขย่าเสร็จแล้วสามารถเอาอกจากกระบอกได้เลยไม่ต้องใส่ทิ้งไว้

และแอดมินก็ได้สรุป ตาราง แก็สหลอดที่ใช้ จำนวนที่ต้องเขย่า ให้เหมาะกับขนาดของกระบอกวิป มาด้านล่างนี้แล้ว

ที่ 2 ลงไปที่กระบอกอัดแก็ส รอบนี้ เขย่าแค่ 10 ครั้ง

วิธีง่ายๆ เท่าที่ก็สามารถ เพิ่มตัวเลือกให้ลูกค้าของเราได้ว่าจะใส่วิปหรือไม่ เพิ่มความหลากหลายให้เมนูในร้านของเรา  แถม ไอซ์ฮอท เบเวอเรจ ทอปปิ้ง ตัวนี้ ขึ้นฟูดี และอยู่ตัวสูง วิปไม่ละลายก่อนถึงมือลูกค้า หรือจะเอามาผสมสี หรือกลิ่นก็ยังได้


แอดมินได้คำนวณราคา ดอกวิปปิ้งครีมที่ใช้บีบด้านบน ราคาอยู่ที่ประมาณ 3-4 บาท ซึ่งเราสามารถไปคำนวณราคาขายให้เหมาะกับเครื่องดื่มเราได้เลย

ปูมาซะขนาดนี้ แอดมินขอแนะนำน้องใหม่ “ไอซ์ฮอท เบเวอเรจ ทอปปิ้ง” ในราคาเปิดตัว  “ชุดน้องใหม่ 3 ชิ้น” …..(บีบ) สูงได้ใจ เหลือเพียง 245 บาท จากปกติ 345 บาท ลองน้อง กดสั่งได้ที่นี้เลย

ดาวน์โหลดบทความ
ภาพรวมความเป็นส่วนตัวและสิทธิ์ของคุณ

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้เราสามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีที่สุดแก่คุณได้ ข้อมูลคุกกี้จะถูกเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณและทำหน้าที่ต่างๆเช่นจดจำคุณได้เมื่อคุณกลับมาที่เว็บไซต์ของเราและช่วยให้ทีมของเราเข้าใจว่าส่วนใดของเว็บไซต์ที่คุณคิดว่าน่าสนใจและมีประโยชน์มากที่สุด

สิทธิที่จะได้รับแจ้ง
สิทธิในการได้รับแจ้ง [มาตรา 23] เป็นสิทธิสำหรับพลเมืองไทยที่จะได้รับแจ้งเกี่ยวกับการรวบรวมและการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของพวกเขาในขณะที่ทำการรวบรวม องค์กรที่รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้ข้อมูลแก่บุคคลเกี่ยวกับสิ่งที่กำลังติดตามวัตถุประสงค์ของการติดตามและบุคคลที่จะแบ่งปันข้อมูลด้วย

สิทธิ์ในการเข้าถึง
สิทธิ์ในการเข้าถึง [มาตรา 30] หรือที่เรียกว่าการเข้าถึงหัวเรื่องทำให้แต่ละบุคคลมีสิทธิที่จะได้รับสำเนาข้อมูลที่องค์กรเก็บไว้ เมื่อองค์กรได้รับคำขอเรื่องจะต้องให้ข้อมูลเจ้าของข้อมูลเช่นวัตถุประสงค์ของการประมวลผลและประเภทของข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวม

สิทธิในการแก้ไข
ตามมาตรา 35 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิ์ที่จะขอให้แก้ไขข้อมูลของตนรวมถึงการแก้ไขข้อผิดพลาดและการอัปเดตข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์

สิทธิ์ในการลบ
ภายใต้มาตรา 33 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิที่จะลบข้อมูลส่วนบุคคลของตน อนุญาตให้ใช้เฉพาะในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือหากผู้ควบคุมข้อมูลไม่จำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลตามวัตถุประสงค์ของการรวบรวมหรือใช้งานอีกต่อไป

สิทธิ์ในการ จำกัด การประมวลผล
มาตรา 34 ของ PDPA ให้สิทธิบุคคลในการ จำกัด การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตน หากผู้บริโภคใช้สิทธิ์นี้ธุรกิจสามารถจัดเก็บข้อมูลต่อไปได้ แต่ต้องไม่ใช้หรือประมวลผลข้อมูลนั้น

สิทธิ์ในการพกพาข้อมูล
สิทธิ์ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลทำให้บุคคลมีสิทธิ์ในการรับและถ่ายโอนข้อมูลไปยังตัวควบคุมหรือบริการอื่น

สิทธิ์ในวัตถุ
มาตรา 32 ของ PDPA ให้สิทธิ์แก่แต่ละบุคคลในการคัดค้านการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตนเมื่อเข้าชมเว็บไซต์ของคุณและมีตัวเลือกให้ใช้ได้เสมอ