กลับไปหน้า เกร็ดน่ารู้

อบทาร์ตไข่ยังไงไม่ให้ก้นแฉะ?

ทาร์ตไข่ เมนูทานเล่น ทำง่ายสำหรับทุกเพศ ทุกวัย อีกทั้งในปัจจุบันได้มีผลิตภัณฑ์ ทาร์ตไข่สำเร็จรูป ออกมามากมาย ทำให้สามารถทำทานได้สะดวกยิ่งขึ้น แต่หลายๆ คน ก็อาจจะยังประสบปัญหาในการ “อบทาร์ตไข่” ว่าจะต้องอบกี่นาทีหรือมีเทคนิคยังไงบ้าง  วันนี้ ริช วิปปิ้งครีม มีเกร็ดน่ารู้มาฝากครับ

อบทาร์ตไข่ยังไงไม่ให้ก้นแฉะ? 

  • การคลายแป้งทาร์ต: ต้องนำมาคลายเย็น 15-20 นาที ไม่ให้แป้งทาร์ตแข็งจนเกินไป และเป็นต้นเหตุของก้นแฉะ (แป้งเป็นไต) แป้งควรมีอุณหภูมิประมาณ 10-25 องศาเซลเซียสก่อนเข้าอบ วิธีเช็คว่าแป้งทาร์ตพร้อมอบแล้วหรือยังคือ ใช้มือกดลงไปที่แป้งทาร์ต หากแป้งบุ๋มลงไป แสดงว่าใช้ได้แล้ว
  • การใช้อุณหภูมิที่เหมาะสม: ควรอบแป้งทาร์ตที่ไฟแรง (กรณีแป้งพัฟ) ที่อุณหภูมิ 230 องศาเซลเซียสทั้งไฟบนและไฟล่าง
  • การใช้เตาอบ: สำหรับเตาอบพื้นหิน ให้เอาตะแกรงออกก่อนวางถาดอบ ส่วนเตาพัดลม เลื่อนให้ตะแกรงวางอยู่ชั้นล่างสุดก่อนวางถาดอบ (หากเปิดพัดลมในระหว่างการอบด้วยจะทำให้เห็นแป้งพัฟชัดเจนยิ่งขึ้น)

เพิ่มเกร็ดน่ารู้เล็กน้อย น้ำทาร์ตที่เทอบ ต้องมีอุณหภูมิที่เย็น เพื่อที่ว่า ในระหว่างการอบนั้น น้ำทาร์ตจะไม่แข็ง แตกและสุกมากจนเกินไป แต่จะนัวๆ ละลายในปากพอดีๆ

มาดูวิธีการทำทาร์ตไข่ง่ายๆ 4 ขั้นตอนกัน 

ทาร์ตไข่สไตล์ฮ่องกง
คลายเย็นที่อุณหภูมิ 2-7◦C > เทครีมทาร์ต > อบ 23 นาที ไฟบนและล่าง 230◦C ในแป้งพัฟ หรืออบ 18 นาที ไฟบนและล่าง 190◦C ในแป้งคุกกี้ > พักให้เย็นพร้อมทาน

ทาร์ตไข่สไตล์มาเก๊า
คลายเย็นที่อุณหภูมิ 2-7◦C > เทครีมทาร์ต > อบ 20-23 นาที ไฟบนและล่าง 230◦C ในแป้งพัฟ หรืออบ 18 นาที ไฟบนและล่าง 190◦C ในแป้งคุกกี้ > พักให้เย็นพร้อมทาน
ความแตกต่าง : ทาร์ตไข่ทั้ง 2 สไตล์มีขั้นตอนที่เหมือนกัน แตกต่างกันที่แป้งทาร์ตประเภทที่ต่างกัน จะใช้ระยะเวลาที่อบไม่เท่ากัน

“เท แล้ว อบ” คอนเซปง่ายๆ ที่อาศัยเทคนิคและรายละเอียดเล็กน้อยในการทำ แฟนเพจ ริชวิปปิ้งครีม สามารถลองสังเกตวิธีการที่เคยทำและนำเทคนิคไปปรับใช้กันนะ

ผลิตภัณฑ์ ริช วิปปิ้งครีม มีจำหน่ายที่ร้านอุปกรณ์เบเกอรี่ทั่วประเทศ

หรือช่องทางออนไลน์ >> คลิกสั่งซื้อ

และ SHOPEE >> คลิกสั่งซื้อ

ดาวน์โหลดบทความ
ภาพรวมความเป็นส่วนตัวและสิทธิ์ของคุณ

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้เราสามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีที่สุดแก่คุณได้ ข้อมูลคุกกี้จะถูกเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณและทำหน้าที่ต่างๆเช่นจดจำคุณได้เมื่อคุณกลับมาที่เว็บไซต์ของเราและช่วยให้ทีมของเราเข้าใจว่าส่วนใดของเว็บไซต์ที่คุณคิดว่าน่าสนใจและมีประโยชน์มากที่สุด

สิทธิที่จะได้รับแจ้ง
สิทธิในการได้รับแจ้ง [มาตรา 23] เป็นสิทธิสำหรับพลเมืองไทยที่จะได้รับแจ้งเกี่ยวกับการรวบรวมและการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของพวกเขาในขณะที่ทำการรวบรวม องค์กรที่รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้ข้อมูลแก่บุคคลเกี่ยวกับสิ่งที่กำลังติดตามวัตถุประสงค์ของการติดตามและบุคคลที่จะแบ่งปันข้อมูลด้วย

สิทธิ์ในการเข้าถึง
สิทธิ์ในการเข้าถึง [มาตรา 30] หรือที่เรียกว่าการเข้าถึงหัวเรื่องทำให้แต่ละบุคคลมีสิทธิที่จะได้รับสำเนาข้อมูลที่องค์กรเก็บไว้ เมื่อองค์กรได้รับคำขอเรื่องจะต้องให้ข้อมูลเจ้าของข้อมูลเช่นวัตถุประสงค์ของการประมวลผลและประเภทของข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวม

สิทธิในการแก้ไข
ตามมาตรา 35 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิ์ที่จะขอให้แก้ไขข้อมูลของตนรวมถึงการแก้ไขข้อผิดพลาดและการอัปเดตข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์

สิทธิ์ในการลบ
ภายใต้มาตรา 33 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิที่จะลบข้อมูลส่วนบุคคลของตน อนุญาตให้ใช้เฉพาะในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือหากผู้ควบคุมข้อมูลไม่จำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลตามวัตถุประสงค์ของการรวบรวมหรือใช้งานอีกต่อไป

สิทธิ์ในการ จำกัด การประมวลผล
มาตรา 34 ของ PDPA ให้สิทธิบุคคลในการ จำกัด การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตน หากผู้บริโภคใช้สิทธิ์นี้ธุรกิจสามารถจัดเก็บข้อมูลต่อไปได้ แต่ต้องไม่ใช้หรือประมวลผลข้อมูลนั้น

สิทธิ์ในการพกพาข้อมูล
สิทธิ์ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลทำให้บุคคลมีสิทธิ์ในการรับและถ่ายโอนข้อมูลไปยังตัวควบคุมหรือบริการอื่น

สิทธิ์ในวัตถุ
มาตรา 32 ของ PDPA ให้สิทธิ์แก่แต่ละบุคคลในการคัดค้านการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตนเมื่อเข้าชมเว็บไซต์ของคุณและมีตัวเลือกให้ใช้ได้เสมอ